นาตยา พิมสอน
วันเสาร์ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2563
วันศุกร์ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2563
วันเสาร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2563
Shared Governance: Determining Faculty Members' Current Level of Participation in Institutional Decision Making in Shaqra University and TVTC
ปัจจุบันการปกครองร่วมกันระหว่างอาจารย์และผู้บริหารในสถาบันการศึกษายังคงเป็นประเด็นที่น่ากังวลในขอบเขตการศึกษาทั่วโลกรวมถึงราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบียสรุปได้ดังต่อไปนี้: (1) ระดับการมีส่วนร่วมของคณาจารย์ของ SHU และ TVTC ในการตัดสินใจทั่วไปรวมถึงการตัดสินใจเกี่ยวกับการฝึกอบรมทางวิชาการนักเรียน / ผู้ฝึกอบรมพนักงานแผนแผนงานท้องถิ่น สังคมและการบริหาร / การเงินมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจยังมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญเนื่องจากกฎระเบียบของระบบธรรมชาติของปัญหาและสภาพแวดล้อม (3) ความสัมพันธ์ของการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
Al-miman, Mansour A.
International Journal of Educational Administration and Policy Studies, v10 n10 p135-147 Nov 2018
Shared Governance: Determining Faculty Members' Current Level of Participation in Institutional Decision Making in Shaqra University and TVTC
Al-miman, Mansour A.
International Journal of Educational Administration and Policy Studies, v10 n10 p135-147 Nov 2018
University shared governance refers to the control and administration of higher education institution in which faculty members, administrators, and trustees share equal responsibilities. Currently, shared governance between faculty members and administrators inside academic institutions is still an unending point of concern in the educational realm worldwide including the Kingdom of Saudi Arabia. Thus, this paper wants to determine the level of participation of Shaqra University's (SHU) and Technical and Vocational Training Colleges, (TVTC) Faculty members in institutional decision-making in line with the global shared governance apprehension through the administration of survey questionnaires distributed to both institutions. Of 140 opinion poll dispensed to SHU and TVTC, 128 were reclaimed and had high validity. The respondents were composed of assistant professors, associate professors, professors, assistant lecturers and lecturers. This study, upon checking its stability and coefficient, concludes the following: (1) the level of participation of faculty members of SHU and TVTC in general decision-making including decisions concerning academic training, students/trainees, staff member, program plans, local society, and administrative/finance has significant difference, (2) the factors affecting decision-making also has significant difference due to system regulations, nature of the problem and environmental conditions, (3) the relation of decision-making participation to job satisfaction has no significant difference. This discovery transpires to the recommendation of increasing the faculty's participation in academic and administrative decision-making more than its current level.
Opinions of International Students on Choosing a State University in a Developing Country
ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกวิทยาลัยของนักศึกษาต่างชาติกรณีศึกษาถูกนำมาใช้และความคิดเห็นของนักเรียนได้รับการวิเคราะห์ตามว่าพวกเขาเป็นนักเรียนทุนหรือนักเรียนที่ไม่ใช่ทุนการศึกษา ในการค้นพบประเด็นหลักที่สามเกิดขึ้น; ความตั้งใจที่จะศึกษาต่อต่างประเทศเลือกเรียนที่ประเทศตุรกีและเลือกศึกษาต่อที่ Anadolu University
Boyaci, Adnan; Oz, Yakup
Journal of International Students, v9 n1 p338-361 2019
Opinions of International Students on Choosing a State University in a Developing Country
Boyaci, Adnan; Oz, Yakup
Journal of International Students, v9 n1 p338-361 2019
In this study, factors affecting the college choice of international students (CCIS) are investigated based on the opinions of international students at a state university (Anadolu University) in Turkey. A case study design is employed and opinions of students are analyzed in accordance with whether they are scholarship or non-scholarship students. In the findings, three main themes emerge; intent to study abroad, choosing to study in Turkey, and choosing to study at Anadolu University. These themes cover several factors affecting the CCIS. In this regard, there are no critical differences between the factors affecting the opinions of scholarship and non-scholarship students. However, some factors could differentiate in accordance with the background characteristics of the students and whether they are from high-income or non-high-income countries.
Factors Affecting Career Goals of Taiwanese College Athletes from Perspective of Social Cognitive Career Theory
การตัดสินใจทางอาชีพการรับรู้ความสามารถของตนเองมีส่วนช่วยให้เกิดความสนใจในอาชีพการคาดหวังผลลัพธ์และเป้าหมายในอาชีพ การสนับสนุนทางสังคมพบว่ามีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจทางอาชีพ
Factors Affecting Career Goals of Taiwanese College Athletes from Perspective of Social Cognitive Career Theory
Journal of Career Development, v47 n2 p193-206 Apr 2020
The present study attempted to identify the psychological processes associated with the career goals of Taiwanese college athletes. In order to identify the psychological processes potentially associated with career goals, the study drew upon social cognitive career theory (SCCT). The results supported SCCT indicating that career decision-making self-efficacy contributed to vocational interests, outcome expectations, and career goals. Social support was found to be related to career decision-making self-efficacy, and outcome expectations were found to be related to vocational interests. In addition, the results revealed that career decision-making self-efficacy and outcome expectations indirectly affected career goals through vocational interests and that social support indirectly affected career goals through career decision-making self-efficacy. However, the results did not support the hypothesis that social support and outcome expectations contributed to career goals. The practical implications of these findings in terms of the career counseling given to Taiwanese college athletes are discussed.
Descriptors: Career Choice, Social Cognition, Self Efficacy, Decision Making, Social Support Groups, Vocational Interests, College Athletics, Student Athletes, Student Attitudes, Foreign Countries, Psychological Patterns, Correlation, Expectation, Career Counseling
https://eric.ed.gov/?q=factors+affecting+decision+to+study+for+high+vocational&id=EJ1244896
วันศุกร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2563
การบริหารบุคลากรที่มีศักยภาพสูงในองค์การ
https://so01.tci-thaijo.org/index.php/EAUHJSocSci/article/view/118542/90894
ารบริหารบุคลากรที่มีศักยภาพสูงในองค์การ
Article Sidebar
Published:
Apr 10, 2018
Keywords:
ดูรายละเอียดใน PDF file
Main Article Content
กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล
Abstract
ดูรายละเอียดใน PDF file
Downloads
Article Details
Section
บทความวิจัย
บทความใน “วารสาร EAU HERITAGE” เป็นความเห็นของผู้เขียนโดยเฉพาะ กองบรรณาธิการไม่มีส่วนในความคิดเห็นในข้อความเหล่านั้น
,
&
+ $
#
การวิจัยและพัฒนานโยบายการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
การวิจัยและพัฒนานโยบายการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
- พิชิต ฤทธิ์จรูญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาวิจัยและประเมินการศึกษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
- ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แขนงวิชาบริหารการศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- เก็จกนก เอื้อวงศ์ อาจารย์ แขนงวิชาบริหารการศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- นงเยาว์ อุทุมพร อาจารย์ ภาควิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
Keywords:
ครูและบุคลากรทางการศึกษา, การพัฒนานโยบาย, Teacher and educational personnel, Policy development
Abstract
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา 3 ขั้นตอน คือ 1) การระบุประเด็นปัญหาข้อเสนอเชิงนโยบาย โดยศึกษาจากเอกสารและเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสนทนากลุ่มกับครู ผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ ผู้ปกครองและนักเรียน รวมทั้งสิ้น 314 คน แล้วสังเคราะห์เป็นประเด็นปัญหาการพัฒนา 2) การพัฒนาทางเลือกข้อเสนอเชิงนโยบาย ใช้ผลการสังเคราะห์ยกร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย และประเมินเชิงวิพากษ์โดยผู้ทรงคุณวุฒิ และบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องแล้วปรับร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย 3) การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย ประเมินเชิงวิพากษ์ร่างข้อเสนอเชิงนโยบายโดยบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ได้ข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 4 ประเด็น คือ 1) จัดระบบและกลไกในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพสามารถจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งผลถึงคุณภาพผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา 3) จัดระบบการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา และ 4) จัดระบบการเสริมสร้างขวัญกำลังใจและความก้าวหน้าในวิชาชีพของครูและบุคลากรทางการศึกษา
คำสำคัญ : ครูและบุคลากรทางการศึกษา, การพัฒนานโยบาย
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EduAdm_buu/article/view/11232
การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตในจังหวัดมหาสารคามของผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
ารศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตในจังหวัดมหาสารคามของผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
Article Sidebar
Published:
Dec 27, 2018
Keywords:
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ, การตัดสินใจเข้าศึกษาต่อ, หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต, ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
Main Article Content
เสาวลักษณ์ เรียงพรม
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
อรอุมา ลาสุนนท์
Abstract
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตในจังหวัดมหาสารคาม ของผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หมายถึง คุณลักษณะทางชีวสังคมของนิสิต นักศึกษา แต่ละบุคคลที่มีปัจจัยส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตในจังหวัดมหาสารคาม ซึ่งได้แก่ ปัจจัยด้านองค์ประกอบของสถานศึกษา ปัจจัยด้านอาคารสถานที่ และทำเลที่ตั้งของสถานศึกษา ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านราคา ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด คือ มีโควตาและโครงการพิเศษ ปัจจัยด้านบุคคลที่เกี่ยวข้อง การวิจัยในครั้งนี้มีความ มุ่งหมายเพื่อศึกษา ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตในจังหวัดมหาสารคาม ของผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และทราบข้อเสนอแนะ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยในครั้งนี้ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นิสิตระบบพิเศษ (เทียบเข้า) รหัส 59 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี 4 ปี เทียบโอน รหัส 59 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จำนวนทั้งสิ้น 255 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) (บุญธรรม กิจปรีดาสุทธิ์. 2540) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม ผลการวิจัยปรากฏดังนี้
- วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อนิสิตระบบพิเศษ (เทียบเข้า) รหัส 59 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดในภาพรวมของ ปัจจัยที่มีผลต่อ การตัดสินใจเข้าศึกษาต่อนิสิตระบบพิเศษ (เทียบเข้า) รหัส 59 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ โดยคาดว่าจบสถาบันนี้ จะมีทักษะวิชาชีพตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ มีความก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน ตลอดจนมีใบประกอบวิชาชีพ (กว.รับรอง)
- วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อ นักศึกษาระดับ ปริญญาตรี 4 ปี เทียบโอน รหัส 59 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รายด้านอยู่ในระดับมาก 3 และระดับปานกลาง 3 ข้อ โดยมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดในภาพรวมของ ปัจจัยด้านราคา
ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ไม่มีข้อมูลที่แตกต่างกัน ส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย ที่มีความประสงค์จะเรียนหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ มีภูมิลำเนา มาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บิดา มารดา หรือผู้ปกครองประกอบอาชีพเกษตรกร บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง มีระดับการศึกษา อยู่ในระดับการศึกษาชั้นประถมศึกษา มีรายได้ครอบครัวต่อเดือน อยู่ระหว่าง 10,000 ถึง 20,000 บาท นิสิต นักศึกษา มีความตั้งใจที่จะเข้ามาศึกษาต่อที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ทั้งสองสถาบัน โดยเลือกเป็นอันดับหนึ่ง และทราบช่องทางการเข้ามาศึกษาต่อจากเว็บไซต์ของคณะ
ปัจจัยที่แตกต่างกัน คือ นิสิตระบบพิเศษ (เทียบเข้า) รหัส 59 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มองว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สถาบันนี้ จะมีทักษะวิชาชีพตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ตลอดจนมีใบประกอบวิชาชีพ (กว.รับรอง) โดยมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ 4.20 ในส่วนของ นักศึกษาระดับ ปริญญาตรี 4 ปี เทียบโอน รหัส 59 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ต้องการเข้ามาศึกษาต่อใน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มองในเรื่องของ ปัจจัยด้านราคา ซึ่งค่าธรรมเนียมและค่าหน่วยกิตแบบเหมาจ่ายของคณะฯ เหมาะสม โดยมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ 4.69
References
กุลธนี ศิริรักษ์. (2551). ความต้องการศึกษาต่อระดับปริญญาตรีและปัจจัยในการเลือกสถาบันในจังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปีที่ 10 ฉบับที่ 3.
ฉัตรชัย อินทสังข์ และคณะ. (2554). ความต้องการศึกษาต่อ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ของนักศึกษา จังหวัดนครราชสีมา.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์และปกเจริญผล.
ธนกฤต ยืนยงเดชา. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกศึกษาต่อระดับอุดมศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นอันดับหนึ่งของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่. รายงานการวิจัยเชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
รายงานประจำปี. (2559). คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. หน้า 2.
วรรณกาญจน์ กันธอินทร์. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกคณะเพื่อศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐกรณีศึกษา นักเรียนชั้นมัธยมปีที่ 6 อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ฉัตรชัย อินทสังข์ และคณะ. (2554). ความต้องการศึกษาต่อ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ของนักศึกษา จังหวัดนครราชสีมา.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์และปกเจริญผล.
ธนกฤต ยืนยงเดชา. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกศึกษาต่อระดับอุดมศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นอันดับหนึ่งของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่. รายงานการวิจัยเชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
รายงานประจำปี. (2559). คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. หน้า 2.
วรรณกาญจน์ กันธอินทร์. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกคณะเพื่อศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐกรณีศึกษา นักเรียนชั้นมัธยมปีที่ 6 อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
https://so04.tci-thaijo.org/index.php/KKUIJ/article/view/109301
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ส่ง youtube ของตัวเองค่ะ
https://www.youtube.com/channel/UCBCi4nP4XpQVJxgVgjRXOlQ/featured?disable_polymer=true
-
ชื่ อ นางสาวนาตยา พิมสอน ตำแหน่ง ครู วิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
-
https://so01.tci-thaijo.org/index.php/EAUHJSocSci/article/view/118542/90894 ารบริหารบุคลากรที่มีศักยภาพสูงในองค์การ Article Side...